ทักษะ การ สื่อสาร คือ

พระ-นเรศวร-2-movie2free

ดร. ยศวีร์ สายฟ้า รองคณบดี คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ Contact Us

  1. 7C สำหรับทักษะการสื่อสารในองค์กร - Professional One
  2. ทักษะการสื่อสาร คือ
  3. ทักษะการสื่อสารด้วยเสียงคืออะไร?
  4. วิศวกรสังคม คืออะไร ? - สร้างสรรค์ปัญญา
  5. 4 วิธีในการพัฒนา “ทักษะการสื่อสาร” ที่มีประสิทธิภาพ
  6. ทักษะการสื่อสาร คืออะไร

7C สำหรับทักษะการสื่อสารในองค์กร - Professional One

ผู้ส่งสาร ( Source) คือ ผู้ที่เป็นตัวต้นในการกำเนิดสารที่จะต้องกำหนดสาระ ความคิด ความรู้ซึ่งอาจจะเป็นได้ทั้ง พนักงานบริษัท หัวหน้างานหรือผู้เป็นเจ้าของบริษัทเลยก็ได้เช่นกัน 2. สาร (Message) คือ เรื่องราวความรู้ เทคนิคต่าง ๆ ที่ผู้ส่งสารต้องการจะส่งไปให้ถึงมือผู้รับ โดยมีความสำคัญที่เนื้อหาของสารที่สามารถเลือกจัดลำดับข่าวสารได้ และในส่วนนี้ต้องมี ทักษะการสื่อสาร เพื่อที่จะทำให้ผู้รับเข้าใจในตัวสารได้ง่ายยิ่งขึ้น 3. เนื้อหาสาระ (Encoder) คือ ตัวอักษร สัญญาณ ภาษาเขียนที่จะสามารถทำให้เห็นถึงเนื้อหาสาระ ในสารได้อย่างชัดเจน ซึ่งในข้อนี้ผู้ที่ส่งสารก็ควรที่จะต้องมีการ พัฒนาตัวเอง เพื่อที่จะสามารถใช้ ทักษะการสื่อสาร ในการบ่งบอกได้อย่างชัดเจนและเข้าใจง่ายมากที่สุด พร้อมไม่มีความผิดเพี้ยนหรือพลิกแพลงจนความหมายคลาดเคลื่อนได้ 4. ช่องทางการสื่อสาร ( Channel) คือ สื่อต่าง ๆ ที่จะเป็นตัวกลางในการกระจายสารหรือเนื้อหาสาระในองค์กร ซึ่งก็อาจจะเป็นคอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์ภายใน เป็นต้น ซึ่งข้อนี้ พนักงานบริษัท ก็ควรที่จะระมัดระวังในการใช้งาน และควรที่จะมี ทักษะการสื่อสาร ที่ดีและชัดเจน เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาในภายหลัง 5.

วิศวกรสังคม (Social Engineer) คือคนที่ใส่ใจเรื่องราวต่าง ๆ ในสังคม และเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างสังคมให้ดีขึ้น โดยใช้การสังเกต เก็บข้อมูล คิดวิเคราะห์ แบบมีเหตุและผล รวมทั้งการแก้ไขปัญหาแบบเป็นระบบ ในการลงพื้นที่ชุมชนท้องถิ่น เพื่อร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ ในการแก้ปัญหาและสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนไปสู่ความเป็นพลเมือง และสร้างชุมชนที่มีการยกระดับสามารถจัดการตนเองได้ บทบาท หน้าที่ของวิศกรสังคม 1. วิเคราะห์ศักยภาพชุมชน 2. ยกระดับองค์ความรู้ในชุมชน 3. สร้างนวัตกรรมเพื่อการแก้ปัญหาชุมชน 4. สร้างความยั่งยืนในการแก้ปัญหาเชิงพื้นที่ บนฐานข้อมูลของชุมชน ทักษะสำคัญของวิศวกรสังคม 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์ เชิงเหตุ-ผล เห็นปัญหาเป็นสิ่งท้าทาย (นักคิด) 2. ทักษะในการสื่อสารองค์ความรู้เพื่อการแก้ปัญหา (นักสื่อสาร) 3. ทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ระดมสรรพกำลัง ทรัพยากรเพื่อการแก้ปัญหา (นักประสานงาน)4. ทักษะการสร้างนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาสังคม (นักสร้างนวัตกรรม) ดังนั้นวิศวกรสังคม จึงเป็นทั้งผู้เรียนรู้และผู้เอื้อให้เกิดกระบวนการจัดการเรียนรู้ของคนในท้องถิ่น ได้มานั่งพูดคุยเพื่อออกแบบกระบวนการ / วิธีการในการจัดการปัญหาหรือยกระดับทุนของชุมชนไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มโดยเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของคนในชุมชนผสานกับความรู้จากภายนอกที่วิศกรสังคมจะเชื่อมโยงลงไปสู่ท้องถิ่นเพื่อขับเคลื่อนคุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่ต่อไป

ทักษะการสื่อสาร คือ

ทักษะการสื่อสารด้วยเสียงคืออะไร?

  • เป็น ตาล ใน ปาก
  • 7C สำหรับทักษะการสื่อสารในองค์กร - Professional One
  • ลำโพงบลูทูธ
  • ดาวน์โหลดคู่มือ Ltax3000 @ Gis
  • วิศวกรสังคม คืออะไร ? - สร้างสรรค์ปัญญา

บุคลิกภาพไม่ได้รับการพัฒนา เมื่ออยู่บ้านนานเกินไป เด็กจะขาดทักษะการเข้าสังคม ซึ่งการเข้าสังคม การคบเพื่อน การทำกิจกรรมกับเพื่อนของเด็ก ๆ เป็นการพัฒนาบุคลิกภาพอย่างหนึ่งของเขา 5. เรียนรู้ช้า ในส่วนของวิชาการ การอ่านเขียน เด็กอาจมีความรู้ความสามารถทางวิชาการที่ช้าลง เนื่องจากเด็ก ๆ ไม่สามารถเรียนได้อย่างเต็มที่ผ่านการเรียน online เมื่อสภาพแวดล้อมของการเรียนเปลี่ยนแปลงไปย่อมมีผลกระทบต่อการได้รับและการเก็บเกี่ยวความรู้ของเด็กเช่นเดียวกัน... ขั้นตอนง่าย ๆ แต่ได้ผลมากที่สุด ที่จะช่วยป้องกัน การเรียนรู้ถดถอย สามารถเริ่มต้นได้ที่บ้านได้ดังต่อไปนี้ 1. ให้ความสำคัญกับคุณภาพบนหน้าจอ ควรเลือกแอปพลิเคชันที่เหมาะสมกับช่วงวัย เพราะจะช่วยส่งเสริมการพัฒนาทักษะทางการศึกษาของเด็กได้อย่างเหมาะสม 2. กำหนดเวลา "อ่าน" ทุกวัน การอ่านเป็นทักษะพื้นฐานสำคัญที่ช่วยให้เด็กอ่านออกเขียนได้ ที่สำคัญยังช่วยส่งเสริมพัฒนาการทางสมองด้วย 3.

วิศวกรสังคม คืออะไร ? - สร้างสรรค์ปัญญา

ทักษะการจัดการปัญหา (Problem Solving) ปัญหามักเกิดขึ้นกับชีวิตคนเราอยู่บ่อยครั้ง ไม่ว่าจะเรื่องเล็กหรือเรื่องใหญ่ หากรู้จักการจัดการปัญหาอย่างถูกต้องจะช่วยป้องกันการขยายปัญหา และสามารถแก้ไขได้อย่างถูกต้องรวดเร็วและตรงตามวัตถุประสงค์ได้ 5. ทักษะการควบคุมจัดการกับความเครียด (Coping with stress) เช่น การหาวิธีผ่อนคลาย การระงับความเครียด และ การไตร่ตรองแก้ไขต้นตอของความเครียด จะช่วยให้คุณสามารถดำเนินชีวิตไปในทางที่ถูกต้องได้ และ สามารถยกระดับสุขภาพให้ดีขึ้นด้วยเช่นกัน 6. ทักษะการเข้าใจผู้อื่น (Empathy) ต้องมีการทำความเข้าใจอันเป็นที่ยอมรับได้ซึ่งกันและกัน จึงจะสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข 7. ทักษะการสร้างสัมพันธ์ (Interpersonal relationship) คนที่รู้จักการสร้างบรรยากาศที่ดี มีวาจาการพูดอันเหมาะสม เข้าใจผู้อื่น และประพฤติตนได้อย่างเหมาะสมได้รับการยอมรับจากคนรอบข้างและสามารถสร้างสัมพันธ์ที่ดีแก่กันได้อย่างยั่งยืน 8. ทักษะการมีวิจารณญาณ (Critical thinking) การคิดอย่างมีสติ มีการไตร่ตรองอย่างรอบคอบ การคิดวิเคราะห์ ประเมิน ก่อนตัดสินใจเชื่อหรือลงมือกระทำสิ่งใดก็ตามย่อมส่งผลดีและลดอัตตราการเกิดผลเสียของผลลัพธ์ที่ตามมาได้ 9.

4 วิธีในการพัฒนา “ทักษะการสื่อสาร” ที่มีประสิทธิภาพ

ทักษะ หรือ (skill) คือความสามารถใด ๆ ก็ตามที่อยู่ในบุคคลอันมีความชำนาญ โดยไม่จำกัดขอบเขตว่าต้องเป็นความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านใด ทั้ง ทักษะทางด้านกีฬา ทักษะทางการเจรจา ทักษะการป้องกันตัว ทักษะทางการวิเคราะห์ ทักษะทางภาษา ทักษะการประดิษฐ์ หรือ อื่น ๆ ก็ล้วนนับเป็นทักษะอย่างหนึ่งทั้งสิ้น โดยทักษะที่เกี่ยวข้องในการดำเนินชีวิต จะมีองค์ประกอบที่เด่นชัดทั่วไป 10 อย่าง ดังนี้ 1. ทักษะการจัดการอารมณ์ (Coping with emotion) อารมณ์ เป็นเหมือนตัวแปรสำคัญในการลงมือ หรือกระทำการตัดสินใจต่อสิ่งต่าง ๆ รอบตัว หากสามารถจัดการควบคุมสิ่งเหล่านี้ได้จะสามารถจัดการสิ่งต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น โดยไม่มีสิ่งใด ๆ มารบกวนได้ 2. ทักษะการตัดสินใจ (Decision making) ฝึกฝนการตัดสินใจต่าง ๆ อย่างมีระบบแบบแผน เพื่อป้องกันการตัดสินใจที่ผิดพลาดและส่งผลเสียตามมา 3. ทักษะการสื่อสาร (Effective communication) การสื่อสารเป็นสิ่งสำคัญที่ใช้กันอยู่ในชีวิตประจำวัน ทั้งการใช้คำพูด ตัวอักษร หรือท่าทาง เพราะฉะนั้นการรู้จักการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับผู้คนรอบตัว รวมถึงสถานการณ์ต่าง ๆ จะทำให้สามารถสร้างมิตรสัมพันธ์ที่ดีให้แก่คนรอบข้างได้ 4.

อีก 2/3 มาจาก ความฉลาดทางอารมณ์ (E. ) ซึ่งใน E. นี้ แบ่งย่อยออกไปอีกเป็น1/3 คือ S. อีก1/3 คือการมีจุดมุ่งหมายและสนใจในงานที่ทำ (ambition) แท้ที่จริงแล้ว S. ก็เป็นส่วนหนึ่งของ E. นั่นเองครับ ดังนั้น ทักษะทางสังคม (social skills) จึงคิดเป็น 1/3 ของความสำเร็จ เลย ทีเดียว มีการศึกษาวิจัยบางอันพบว่านักเรียนเกรด C คือคนที่ผลการเรียนไม่ดีนัก กลับทำเงินได้มากกว่า และเป็นผู้จัดการของนักเรียนเกรด A คือคนเคยเรียนเก่งๆ กล่าวคือผลการเรียนและคะแนนที่ดีนั้นอาจนำไปสู่งานที่ได้เงินมากกว่าในตอนแรกเท่านั้น และนั่นก็เป็นเพียงแค่ 1/3 ของความสำเร็จ แต่ถ้าคนเราควบคุม 2/3 ของความสำเร็จ ( social skills and ambition. ) ได้ก็จะประสบความสำเร็จได้ไม่ยาก นอกจากนี้คนเรายังไม่สามารถเปลี่ยนแปลง I. คือระดับสติปัญญาของตัวเองได้ ( out of control) แต่เราสามารถเสริมสร้าง S. และความสนใจในงานได้ของตัวเราเองได้ครับ • การสมัครงานกับ S. Q. การรับสมัครงานยุคปัจจุบันนี้ให้ความสำคัญกับความฉลาดทางสังคม ( S. ) มากขึ้นเช่นการมีมนุษยสัมพันธ์ ยิ้มแย้มแจ่มใส บุคลิกภาพดี หรือแม้แต่การสบตา ( eye contact) ขณะพูดคุยกับผู้อื่น ซึ่ง S. ยังรวมถึงทักษะด้านอื่นๆ เช่น ความตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์ ความจงรักภักดีต่อองค์กร ความสามารถในการสร้างแรงจูงใจให้ตนเอง ( self-motivated) ซึ่งล้วนแล้วแต่มีผลต่อการทำงานทั้งสิ้นครับ เราลองมาดูการจัดอันดับความสำคัญ (Rating) ของการพิจารณาจ้างงานและรับบุคคลเข้าทำงานในองค์กร โดยคะแนน 3 หมายถึงมีสำคัญมาก, คะแนน1 มีสำคัญน้อย พบว่า การตรงต่อเวลา ( Punctuality) = 3.

ทักษะการสื่อสาร คืออะไร

ทักษะการสื่อสาร คือ

00 ความซื่อสัตย์ สุจริต (Honesty) = 3. 00 ความยิ้มแย้มแจ่มใส (Smile) * = 2. 60 บุคลิกภาพ (Personable) * = 2. 71 การแต่งกาย (Appearance) * = 2. 67 ทักษะในการพูดจา (Verbal skills) = 2. 62 การสบตา (Eye contact) * = 2. 60 ความสามารถสร้างแรงจูงใจให้ตนเอง (Self-motivate)* = 2. 57 คะแนนจากการศึกษา (Grade Point) = 1. 79 ประสบการณ์ (Experience) = 1.