การ ทำ ประชาคม

acad-exe-the-application-was-unable-to-start-correctly-0xc00007b

ล. ชาญโชติ ชมพูนุท 10 มิถุนายน 2556 ข้อมูลจากหนังสือ "พัฒนาการและพัฒนาประชาสังคม" โดย ผศ. ทศพล สมพงษ์ ตอนต่อไป "แนวคิดประชาสังคมในยุคสมัยใหม่ < ย้อนกลับ ถัดไป >

  1. ทฤษฎีสัญญาประชาคม
  2. การทำฝนเทียม - วิกิพีเดีย
  3. เรื่องที่ 3 ขั้นตอนการทําเวทีประชาคม – กศน.อำเภอศรีสําโรง
  4. การจัดเวทีประชาคม (วิธีการและเทคนิค (ขั้นดำเนินการ ( ค้นหาความปัญหาร่วมกั…

ทฤษฎีสัญญาประชาคม

ศ.

การทําประชาคม คือ

เพื่อให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้เรียนรู้สถานการณืที่เป็นจริงของชุมชนให้สมบูรณ์ให้มากที่สุด 2. เพื่อให้ภาคประชาชนที่เข้าร่วมเวทีประชาคม ได้ร่วมกันระดมและเสนอปัญหาความต้องการที่แท้จริงของคนส่วนใหญ่ในชุมชน รวมทั้งมูลเหตุที่มีของปัญหานั้น ๆ 3. เพื่อให้ชุมชนได้ร่วมกันพิจารณากำหนดกิจกรรมทางเลือกที่จะแก้ปัญหาดังกล่าว โดยสอดรับกับขีดความสามารถศักยภาพและทุนทางสังคมที่มีอยู่เดิม 4. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ภาครัฐที่เข้าร่วมเวที ร่วมกับภาคประชาชน ได้ร่วมกับพิจารณาตามเหมาะสม และเป็นไปได้ของกิจกรรมทางเลือกที่จะนำมาใช้แก้ไขปัญหาของชุมชนที่สอดรับกับระเบียบข้อกำหนดทางราชการแนวคิดทางวิชาการ ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น และเป็นกิจกรรมที่มีโอกาสสูงที่ประสบผลสำเร็จในการดำเนินงาน โดยมีความคุมทุนและกระจายประโยชน์ไปถึงคนส่วนใหญ่ รวมทั้งสามารถยกระดับการพัฒนาพื้นที่ี่ให้เกิดสันติสุขและความเข้มแข็งได้อย่างยั่งยืนต่อไป 5. เพื่อให้ผู้ร่วมเวทีประชาคมได้ร่วมกันทบทวนหรือจัดทำแผนแม่บทชุมชนที่มีคุณภาพ สามารถใช้เป็นแผนกลยุทธ์ในการขับเคลื่อนกระบวนการการจัดการแก้ไขปัญหาชุมชนของภาคประชาชนแลบะสามารถนำไปเชื่อมต่อกับกระบวนการบริหารการพัฒนาของ ภาครัฐและหน่วยงานเอกชนได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

การทำฝนเทียม - วิกิพีเดีย

สายตรง สถ.

7 วิเคราะห์ปัญหา และความต้องการของประชาชน 5. 8 สรุปประเด็นปัญหาความต้องการ เรียงลำดับปัญหา ความต้องการ 5. 7 จัดทำรายละเอียดโครงการ/กิจกรรม 5. 8 จัดทำร่างแผนพัฒนา 6. ระยะเวลาในการดำเนินการ วันอังคารที่ 17 มีนาคม ๒๕๕8 เวลา ๑๖. ๐๐ น. 7. สถานที่ดำเนินการ ณ ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใหม่ ตำบลบ้านใหม่ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 8. หน่วยงานที่รับผิดชอบ และผู้ที่เกี่ยวข้อง 8. 1 องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใหม่ 8. 2 ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ ผู้นำกลุ่มชุมชน ชมรมต่างๆ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ 9. งบประมาณ เบิกจ่ายจาก แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน หน้า 89 งานส่งเสริมและสนับสนุนความเข้มแข็งชุมชน งบดำเนินการ ประเภทรายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายหมวดอื่น ๆ 1. ค่าใช้จ่ายโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น จัดประชุม ชุมชนเข้มแข็ง จัดทำแผนชุมชน แผนพัฒนาท้องถิ่น และงานจัดประชุมประชาคมตำบลบ้านใหม่ ประชาคมหมู่บ้าน และจัดประชุมให้ความรู้แก่ประชาชน ตั้งไว้จำนวน 20, 000 บาท เพื่อจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินการต่าง ๆ ตั้งจ่ายจากเงินรายได้ ขอใช้จ่ายตามโครงการนี้จำนวน 10, 250 บาท ดังรายละเอียดต่อไปนี้ -3- ลำดับ รายการ จำนวน(บาท) 1.

เรื่องที่ 3 ขั้นตอนการทําเวทีประชาคม – กศน.อำเภอศรีสําโรง

  • การทําประชาคม pdf
  • คอลัมน์การเมือง - เจ๊กตื่นไฟ!!รถอีวีได้ไม่เท่าเสียป่าว!?!?! ระวังเสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย
  • สาวน้อยประแป้ง หงส์เหิน Diffenbachia sp. – ข้อมูลพันธุ์ไม้

การจัดเวทีประชาคม (วิธีการและเทคนิค (ขั้นดำเนินการ ( ค้นหาความปัญหาร่วมกั…

การจัดเวทีประชาคม (วิธีการและเทคนิค (ขั้นดำเนินการ ( ค้นหาความปัญหาร่วมกั…

งานนำเสนอเรื่อง: "เทคนิคการจัดเวทีประชาคม"— ใบสำเนางานนำเสนอ: 1 เทคนิคการจัดเวทีประชาคม 2 เวทีประชาคม (Civil Society Forum or People Forum) เป็นวิธีการและเป้าหมายที่กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม ( participatory learning) ระหว่างคนที่มีประเด็นหรือปัญหาร่วมกัน โดยใช้เวทีในการสื่อสารเพื่อการรับรู้และเข้าใจในประเด็น/ปัญหา และช่วยกันผลักดัน หรือหาข้อสรุปเป็นแนวทางแก้ไขประเด็นปัญหานั้นๆ 3 11. องค์ประกอบของการจัดเวทีประชาสังคมที่ดี 1. ประเด็นที่เป็นที่ประจักษ์ว่าเป็นปัญหาร่วม 2. มีวัตถุประสงค์ของการจัดประชาคมที่ชัดเจน 3. มีกระบวนการ ขั้นตอน และวิธีการที่ดี 4. ผู้มีส่วนได้เสียเข้าร่วมเวทีประชาคม 5. มีผู้อำนวยการให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือวิทยากรกระบวนการ 4 11. องค์ประกอบของการจัดเวทีประชาสังคมที่ดี(ต่อ) 6. มีการประสานงานล่วงหน้า 7. มีบรรยากาศที่ดี 8. มีระยะเวลาที่เหมาะสม 9. ต้องมีข้อสรุปเกิดขึ้นทุกครั้งที่ทำเวทีประชาสังคม 10. มีสื่อและอุปกรณ์การสื่อสารที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจประเด็น เนื้อหา ตรงกัน 11.

กำหนดหัวข้อที่จะประชาคมให้ชัดเจน 2. กำหนดระยะเวลาและสถานที่จะประชาคม 3. ประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนทราบและเชิญเข้าร่วมประชาคม 4. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ให้พร้อม 5. เจ้าหน้าที่เตรียมตัวพร้อมในการประชาคม 6. ดำเนินการประชาคมตามกำหนดการและสรุปผลการประชาคม อ้างอิง เอกสารสิ่งพิมพ์ พิมพ์ครั้งที่ 1 ผู้จัดพิมพ์: พ. จ. อ. สมาน รินทวุฒิ ที่ปรึกษา นายชัยดี รัตนปรีดา นายกเทศมนตรีตำบลบ้านฝาง นายอารีย์ พาลีบัตร รองนายกเทศมนตรีฯ นายพงษ์ศักดิ์ หร่องบุตรศรี รองนากยเทศมนตรีฯ นายยงยุทธ ยศธสาร ที่ปรึกษานากยเทศมนตรีฯ นายภสุ ภาณุภัทรเมธี เลขานุการนากยเทศมนตรีฯ วันที่พิมพ์ 25 กุมภาพันธ์ พ. ศ. 2559 บันทึกข้อมูลโดย นางสาวณัฐฐิญา โคตรบุรี เจ้าพนักงานธุรการ

หากคุณไม่มีความอดทน และไม่มีทักษะในการฟังที่ดี จะทำให้ไม่สามารถเก็บเกี่ยวข้อมูลทั้งเชิงลึก ข้อมูลที่มีนัยยะสำคัญ และข้อมูลโดยรวมทั้งหมดจากผู้อภิปรายได้ 13 ข้อสังเกตการเป็นวิทยากร 2. หากวิทยากรกระบวนไม่เปิดใจกว้างที่เรียนรู้ทักษะ และเก็บเกี่ยวประสบการณ์ใหม่ๆ จะทำให้เกิดบรรยากาศที่น่าเบื่อและ เวทีประชาคมก็มักจะไม่ประสบผลสำเร็จในการนำพาให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมทั้งด้านการคิด การตัดสินใจ หรือการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน 14 ข้อสังเกตการเป็นวิทยากร 3. วิทยากรกระบวนการควรมีความมั่นใจในตนเองในการนำพาให้เวทีประชาคมนั้นบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ แต่ความมั่นใจนั้นต้องไม่วางอยู่บนความคิดที่ว่าตัวเองดีกว่าคนอื่น สำคัญกว่าคนอื่น หรือรู้มากกว่าคนอื่น 15 ข้อสังเกตการเป็นวิทยากร 4. วิทยากรที่ไม่มีทักษะเบื้องต้นของการเป็นวิทยากรกระบวนการ และไม่มีประสบการณ์ในการนำทักษะเหล่านั้นไปใช้จริง แน่นอนว่าจะมีปัญหาอย่างยิ่งในการนำกระบวนการมีส่วนร่วมไปสู่วัตถุประสงค์ที่วางไว้